ผลงานเด่น

เกษตรกรไทยพร้อมหรือไม่กับการใช้เทคโนโลยี

นดับแรกเป็นเรื่องของเงินทุนเพื่อจะเปลี่ยนจากแรงงานมาใช้เครื่องจักร ซึ่งจะเหมาะกับเกษตรกรที่มีผลผลิตมากประมาณหนึ่ง  ถามว่าเกษตรกรต้องการใช้เครื่องจักรไหม ในฐานะที่คลุกคลีกับเกษตรกรมาแต่เด็ก อาจารย์มั่นใจว่าเขาอยากใช้เครื่องจักรมาตั้งนานแล้ว
ผลงานเด่น

รีไซเคิลแบตเตอรี่แบบใช้แล้วทิ้ง เป็นแบตเตอรี่แบบอัดประจุซ้ำได้ นวัตกรรมใหม่ยกระดับการแข่งขันของประเทศ

แบตเตอรี่มีหลายชนิดมาก ส่วนใหญ่เราเรียกว่า “ถ่านไฟฉาย” หรือ อัลคาไลน์แบตเตอรี่ ที่ใช้สำหรับเอาไว้ในรีโมทต่างๆ ทั้งหมดเป็นแบตเตอรี่แบบใช้ได้ครั้งเดียว ใช้แล้วต้องทิ้ง แล้วไปซื้อใหม่ตามร้านสะดวกซื้อ
ผลงานเด่น

โอกาสและทิศทางที่ดีที่จะเพิ่มศักยภาพ

การที่เราได้มาเจอกับบพข. ผมถือว่าเป็นโอกาสและทิศทางที่ดีมาก เพราะทุนที่ บพข. สนับสนุนไม่ได้ให้นักวิจัยโดยตรงร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่เป็นทุนวิจัยที่จะไปขับเคลื่อนเพื่อไปเพิ่มศักยภาพ ไปเพิ่มความแข็งแกร่งให้ผู้ประกอบการด้วย
ผลงานเด่น

ภาคเอกชนกับการหาความรู้ที่แท้จริงเพื่อพัฒนาธุรกิจ

“สิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่ภาคเอกชนต้องทำ คือ การหาความรู้ที่แท้จริงมาเพื่อพัฒนาธุรกิจ ซึ่งนั้นทำให้เรามุ่งเข้าไปที่มหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีในโรงงานต้นแบบไปด้วยกัน การร่วมวิจัยกับภาคมหาวิทยาลัย สร้างความแตกต่างกับคู่แข่งทางธุรกิจ
ผลงานเด่น

ก้าวสำคัญสู่การเป็น Medical Hub ด้วย “นวัตกรรมคุณภาพ”

คนไทยส่วนใหญ่คิดว่าประเทศไทยกำลังเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพและการแพทย์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ประเทศไทยโดดเด่นเรื่องศูนย์กลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) ในอดีตประเทศไทยให้การส่งเสริม อุตสาหกรรมทางการแพทย์น้อย
ผลงานเด่น

ยกระดับรถไฟฟ้ารางเบา ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ชาติ ขยายเศรษฐกิจฐานชุมชน

รถไฟฟ้ารางเบา (LRT)เป็นระบบรถไฟฟ้าที่ไม่ใหญ่มาก ลักษณะเด่นคือ สามารถวิ่งบนผิวจราจรร่วมกับรถยนต์ได้ เหมือนกับในยุโรป ญี่ปุ่น ที่วิ่งบนถนน ติดไฟแดงร่วมกับรถยนต์ ความเร็วไม่เกิน 80 กม./ชม.ด
ผลงานเด่น

Time to Market เป็นสิ่งสำคัญ เพราะมีการแข่งขันสูง ไม่มีใครในโลกนี้ทำวิจัยตั้งแต่ต้นน้ำจรดปลายน้ำเอง

กวิจัยจะต้องปรับเปลี่ยน Mindset จากการวิจัยในอดีต สมัยก่อนการพิสูจน์ว่าคุณสามารถทำวิจัยได้ทั้ง Value chain อาจเป็นสิ่งที่โก้เก๋ แต่ปัจจุบันไม่ใช่แล้ว “Time to Market” เป็นสิ่งสำคัญ เพราะโลกปัจจุบันมีการแข่งขันกันสูง
ผลงานเด่น

รศ.ดร.สิรี ชัยเสรี: การเรียนรู้ร่วมกันของนักวิจัยและเอกชน

"บพข.จะจับคู่นักวิจัยและเอกชนให้เข้ามาทำงานร่วมกัน พัฒนาเทคโนโลยีร่วมกันเพื่อนำเทคโนโลยีที่ได้ไปใช้ประโยชน์จริงในอุตสาหกรรม และสิ่งที่เราได้มากกว่าตัวเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมแล้วนั่นคือเกิดการเรียนรู้ร่วมระหว่างนักวิจัยและเอกชน"
ผลงานเด่น

เปลี่ยนผลผลิตทางการเกษตรให้กลายเป็นสารเคมีชีวภาพมูลค่าสูง โจทย์ใหญ่ที่ท้าท้ายนักวิจัยไทย

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีพื้นที่สำหรับการเพาะปลูกเป็นจำนวนมาก และมีคนที่ทำอาชีพเกษตรกรอีกหลายล้านคน เกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักของคนไทย แต่ผลผลิตทางการเกษตรไทยกลับมีราคาต่ำ ผลิตมากแต่ได้ราคาน้อย